2/12/55

อปก.ภายใน

อปก.ภายนอก คือ สิ่งที่สามารถมองเห็นหรือสัมผัสได้
อปก ภายใน คือ สิ่งที่ไม่สามารถมองเห็นหรือสัมผัสได้  เป็นเรื่องภายใจจิตใจ  ต้องอาศัยพฤติการณ์ต่างๆที่แสดงออกมาภายนอกวินิจฉัยสภาพจิตใจของผู้กระทำ

๑ เจตนา ๒ ประมาท ๓ ไม่เจตนาและไม่ประมาท ก็ผิด (๑๐๔) เช่น ทำให้เกิดสิ่งปฏิกูลแก่น้ำในบ่อ ม ๓๘๐

เจตนา
             ๑ เจตนาตามความเป็นจริง ก)ประสงค์ต่อผล หรือ ข)เล็งเห้นผล ตาม ๕๙ ว ๒ และ ว ๓
             ๒ เจตนาโดยผลของ กม

เจตนาตามความเป็นจริง ต้องเริ่มจาก รู้ ขทจ อันเป็น อปก ภายนอกของความผิด  ๕๙ ว ๓  และ ผู้ กท ต้อง ปสง ต่อผล หรือ ย่อมเล้งเห็นผล ๕๙ ว ๒   ถ้าไม่รู้ คือไม่มีเจตนาทันที  เช่น ไม่รู้ว่าเป็นคน  เข้าใจว่าเป็นศพ จึงชำเรา  ล่าสัตว์เห็นเงา จึงยิงสัตว์  ปรากฏว่าเป็นคน  ศัตรูแกล้งตายแต่ก็ยังเข้าไปยิงเพื่อสะใจ  ถูกใช้ให้เอาน้ำส้มผสมยาพิษไปให้คนอื่นกินโดยไม่รู้ว่ามีพิษผสม  เข้าใจว่าเป็นทรัพยืตนจึงหยิบเอาไป

แต่หากความไม่รู้นั้น เกิดจากประมาท  ต้องรับผิดฐานประมาท  ตาม ๖๒ ว ๒  เช่น ล่าสัตว์ไม่ดูให้ดีว่าเป็นเงาคน   ยิงคนตาย รับผิด ๒๙๑ ,๖๒ ว ๒,๕๙ ว ๔  ถ้ายิงเลือกออกเฉยๆ ก็ผิด ๓๙๐  ทำคนบาดเจ็บโดยประมาท

๖๒ ว ท้าย จะรับโทษหนักขึ้น โดยอาศัย ขทจ ใด  ต้องรู้ ขทจ นั้น ก่อน  เช่น จะยิงศัตรู  พ่อเดินมา เข้าใจว่าเป้นศัตรุจึงยิงตาย  เช่นนี้ผิด ๒๘๘  ไม่ผิด ๒๘๙(๑)ฆ่าบุพการี  อันเป็นโทษหนักกว่าฆ่าธรรมดา
           
รับของดจร  อ้างไม่รู้ว่าเป็นของที่ปล้นมาได้เสมอ เพราะ ตำรวจมีหลักฐานเต็มที่แค่ซากรถ  ๓๕๗ ว ๒ ที่ว่า รู้ว่าทรัพย์มาจากปล้น จึงยก แล้วลง ว ๑

ปิดกั้นเหมืองสาธารณะโดยสุจริต คิดว่าเป็นเหมืองของตน ไม่ผิด ๒๒๘ /ชกต่อยตำรวจที่เข้ามาค้นโดยไม่แต่งเครื่องแบบ อ้างไม่รู้ได้  ไม่ผิด ๑๓๘  โอนที่ดินหนีหนี้ผิ ๓๕๐ แต่คนรับโอนอ้างไม่รู้ว่าเจ้าหนี้ใช้สิทธิทางศาลได้  /ไม่รู้ว่าชำเราเด็ก เรพาะเด็กตัวโต ทำงานในโรงงานที่รับคนงานอายุตั้งแต่ ๑๗ จึงไม่มีเจตนาทำผิด ๒๗๗ ว ๑  (ชำเราเด็กโดยเด็กยอม  ) อ้าง ๕๙ ว๓ (มีบางคนว่า ๖๒ )

จล.รับจ้างดูแลต้นยูคาลิปตัสมาหลายปี  แต่โดนไล่ออกไป แต่นายจ้างยังคงให้บุตรของ จล.ดูแลรับษาต่อ  เสมือนไม่มีอะไรเปลี่ยน จล.บอกภรรยานายจ้างว่า จะขายต้นยูคา  ถ้าขัดข้องให้ติดต่อมา ๗ วัน  เมื่อไม่มีติดต่อมาจึงขายต้นยูคา  ถือว่า เข้าใจโดยสุจริตว่า นายจ้างอนุญาตแล้ว  ขาดเจตนาลักทรัพย์ (ทำนอง เข้าใจว่าทำได้  เป็นขาดเจตนา อย่างหนึ่ง )

เจตนาอะไร
เจตนาฆ่า  ถ้าตาย ใช้๒๘๘  ,๒๘๙ ไม่ตาย ใช้ ๘๐
เจตนาทำร้าย ถ้าตาย ๒๙๐  สาหัส ๒๙๗  เหตุให้โทษหนัก ๒๙๖  เลือดออก ๒๙๕  ถลอก ๓๙๑   ไม่เจ็บเลย ๘๐

กรรมเป็นเครื่องชี้เจตนา  วินิจฉัยจากอาวุธ  อวัยวะ บาดแผล  พฤติการณ์อื่น เช่นเวลา
ปืน คือ ฆ่า เว้นแต่เลือกจะไม่ยิง /ยิงที่อวัยวะไม่สำคัญ/
มีด ขวาน คือ ทำร้าย เว้นแต่เลือกทำอวัยวะสำคัญ  ถ้าไม่มีเวลาเลือกแทง  แทงมั่วๆแล้วเขาตาย เป็นทำร้าย ๒๙๐  ถ้าสาหัสเป็น ๒๙๗  ไม่ใช่๒๘๘,๘๐

เล็งเห็นผล มคว. เล็งเห็นว่าผลนั้นจะเกิดขึ้นได้อย่างแน่นอน  เท่าที่จิตใจของบุคคลในฐานะเช่นนั้นจะเล็งเห็นได้ เช่น ใช้ปืนลูกซองยิงขวดสุราที่ ผสห นั่งอยู่ที่โต๊ะใกล้ขวดสุรา  หลอก ญ ว่าจะไปส่งบ้าน แต่พอผ่านบ้าน ญ กลับเร่งความเร็ว  แม้จะจับมือ ญ  แต่ ญ ตกรถไปตาย เป็นเล็งเห็นผลฆ่า ขับรถชนตำรวจ แหกด่านตรวจของ ตร.เป้นเล้งเห็นผลฆ่า จพง.๒๙๘  บีบคอ ญ จน ญ สลบแล้วข่มขืน  เล็งเห็นว่า ญ  ตายได้ เป็นเจตนาฆ่า ผิดร่วมกันพยายามฆ่าเพื่อความสะดวกในการที่จะกระทำผิดฐานข่มขืนกระทำชำรา ๒๘๙(๖),๘๐

เจตนาทำร้ายโดยเล็งเห็นผล เช่น คนมาห้ามมิให้วิวาท  จล.ผลักล้ม ย่อมเล้งเห็นว่าล้มแล้วเจ็บ  /ป้องกันล่วงหน้า  รั้วมีไฟฟ้ากันขโมย คนดีมาโดนตาย ผิด ๒๙๐ /ผลักตำรวจ แย่งยาบ้ามากลืน เล้งเห็นผลว่าตำรวจเจ็บแล้ว  ผิด ๑๓๘ ว ๒ /เผาที่นอน เล็งเห็นเผาโรงแรม ๒๑๘(๑) /ถ้าเขม่าดำติดฝาห้อง แต่เฟอนิเจอไหม้  อันนี้ แค่พยายามเผา  แต่ถ้า ไฟติดผนังเพราะราดน้ำมันแล้วเผา  อันนี้ผิดสำเร็จ  แต่ถ้า พงอ.ฟ้องมาแค่พยายาม ศ ก็ลงได้แค่พยายาม /

เจตนาพิเศษ คือ ความชั่ว  เช่น ลัก ต้องมีทุจริต  ปลอมเอกสารต้องมี เพื่อให้ผู้อื่นหลงเชื่อ





รธน.


           จาก www.dekisugi.net  แนวคิดในรัฐธรรมใหม่ว่า  "ขยาดการถูกข่มเหงโดยรัฐฯ  และรัฐฯ มีแนวโน้มจะใช้อำนาจเกินขอบเขตกับประชาชนอยู่ตลอดเวลา  มนุษย์ทุกคนมีสิทธิเสรีภาพบางอย่าง ที่แม้แต่รัฐฯ ก็ไม่มีสิทธิละเมิด หลักการใหญ่ คือ การแบ่งอำนาจสูงสุดออกเป็น 3 ส่วน คือ นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ  เป็นอิสระจากกัน  เพื่อป้องกันมิให้มีใครได้อำนาจรัฐฯ โดยเบ็ดเสร็จ และให้ทั้งสามอำนาจคอยตรวจสอบถ่วงดุลกันเอง   ในไทยฝ่ายบริหารจะมีอำนาจมากกว่าสภา เพราะสามารถออกพระราชกำหนดได้เองหากอ้างมีเหตุจำเป็น และแม้ว่าจะถูกถ่วงดุลเอาไว้ด้วยการให้สภานำมาโหวตในภายหลัง  ซึ่งถ้าโหวตไม่ผ่าน ฝ่ายบริหารต้องรับผิดชอบด้วยการลาออก แต่นายกรัฐมนตรีก็มีท่าไม้ตาย  คือสามารถ ยุบสภา เมื่อไรก็ได้   ในส่วนศาลไม่เห็นกลไกที่ฝ่ายบริหารและนิติบัญญัติ หรือ ปชช.  จะถ่วงดุลฝ่ายตุลาการได้ อำนาจศาลจึงสูงมาก   เพราะผู้พิพากษาของไทยไม่ได้ผ่านการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน ซึ่งต่างกับสหรัฐฯ ที่ผู้พิพากษาตำแหน่งรองๆ ลงมาต้องมาจากการเลือกตั้ง  สองสภาของไทยเป็นการต่อรองกันระหว่างคนที่ชอบประชาธิปไตยกับคนที่ไม่ชอบ ประเด็นที่เถียงกันเลยเป็นเรื่องว่าควรจะเลือกตั้งทั้งหมด หรือสรรหา   ในเมกา ข้อที่ถูกอ้างบ่อยที่สุดน่าจะได้แก่ เสรีภาพในการพูด เชื่อว่า ควรปล่อยให้พลเมืองพูดอะไรก็ได้ แม้แต่เรื่องที่รัฐบาลไม่ชอบมากๆ เพราะความเห็นต่างจะช่วยให้เกิดการตรวจสอบและนำมาซึ่งความโปร่งใสในที่สุด คนอเมริกันจึงซีเรียสเรื่องเสรีภาพในการพูดมาก เวลาจะพูดอะไรร้อนๆ ก็จะอ้าง 1st Amendment เสมอ แนวคิดที่สนับสนุนให้พลเมืองกล้าเรียกร้องสิทธิ เพื่อให้การเอาเปรียบกันทำได้ยากขึ้นนี้  จัดว่าเป็นลักษณะเด่นของสังคมอเมริกันเลยทีเดียว เป็นค่านิยมที่ต่างจากค่านิยมของสังคมไทยค่อนข้างมาก มองตรงกันข้ามกันด้วยซ้ำว่า ถ้าสอนให้ทุกคนเรียกร้องสิทธิ แล้วจะทำให้คนเห็นแก่ตัวกันมากขึ้น สังคมไม่น่าอยู่ เชื่อว่า ทุกอย่างอยู่ที่การปลูกฝังจิตสำนึกและการให้คนดีได้อำนาจ ส่วนระบบอะไรนั้นก็ไม่สำคัญ 

           รธน.มีความสำคัญอย่างมาก เพราะ  กฎหมาย กฎ ข้อบังคับใด  ขัดหรือแย้งต่อ รธน นี้ เป็นอันใช้บังคับมิได้  (6)
           ประเด็นที่มาสู่ศ รธน  ได้แก่  กม ขัดหรือแย้งต่อ รธน หรือไม่   ความขัดแย้งเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ระหว่างองค์กร ตาม รธน.
           อำนาจตุลกการ  แบ่งได้ ๔ ศาล ได้แก่ ศ รธน.    ศ.ยุติธ.  ศ ปค.  และ ศ.ทหาร 
                  ๑  ศ.รธน. ประกอบด้วย ตลก.๙ คน (ศ.ฎี ส่ง ๓ คน /ศ.ปค.ส่ง ๒ คน /สว.ส่ง ๔ คน โดยเป็นสายนิติ ๒  รัฐศาสตร์ ๒ ) วาระ ๙ ปี เว้นแต่เข้า ม.๒๐๙ อคณ ต้องมี ๕ คน(ม ๒๑๕)  ใช้หลักเสียงข้างมาก  ให้ ตลก ทุกคนมีความเห็นส่วนตัวเป็นเอกสาร  นำมาประชุมเช้า ตัดสินกลาง ตอนบ่าย   
                   คดีที่มาสู่ ศ.รธน.ได้แก่
                            ๑.๑   คดีที่ศ.ยุติธ.   ศ.ปค. ศ.ทหาร  ส่งมาให้วินิจฉัยว่า  กม.ขัด รธน.หรือไม่  และ เคยมี คว.ในประเด็นดังกล่าวแล้วหรือไม่  ตาม ม ๒๑๑
                            ๑.๒   บุคคลผู้ถูกละเมิดสิทธิ  ยื่นผ่าน อยส.  เช่น  ม ๖๘  การเสนอแก้ รธน.เป็นการล้ม รธน.หรือไม่  ถ้ามีคนไปยื่น ที่ อยส.  แล้วอีกคนไปยื่นเรื่องเดียวกันที่ ศ รธน  ศาลรับเรืองไว้ได้เลย  ถือว่ายื่นต่อ อยส.แล้ว
                   ตัวอย่าง  การชี้ขาดอำนาจหน้าที่องค์กร   ปปช.ชี้มูลว่า ขรก.ผิดวินัยร้ายแรง  แต่ กพ.สั่งลดโทษเป็นไม่ร้ายแรง  ศ รธน ว่า  ต้องเป็นวินัยร้ายแรงตาม ปปช.ชี้มูล  (รธน.๒๑๔ ความขัดแย้งเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ระหว่างองค์กร ตาม รธน.) ศ รธน ชี้แล้วผูกพันทุกองค์กร อำนาจขัดกันยุติ   ศ รธน จึงเป็นเส้นแบ่งอำนาจองค์กรด้วย  

                    ในคดี ดา ตอปิโด ดาโต้แย้งว่า  พิจารณาลับตาม ป วิอ.กระทบสิทธิ  ขัด รธน  ขอให้ศ อญ ส่งเรื่องไป ศรธน.วินิจ ก่อน  ศอญ.ไม่ส่ง  แต่ยกคำร้อง  แล้วจำคุก ๑๘ ปี  ดา อท.คร.  ศอท.ว่า  ต้องยกคำพพ. ของ ศชต.แล้วย้อนให้ ศอญ พิจ ใหม่  ต่อมา ศอญ.ส่งไป ศรธน.   /ศรธน.วินิจว่า  พิจ.ลับไม่ขัด รธน.  ศอญ.ตัดสินใหม่
                    คว.ศรธน.ที่ ๑๒/๕๕  พรบ.ขายตรง ที่ว่า  สนฐ ไว้ก่อนว่า กรรมการทุจริตร่วมกับนิติบค.  นั้นขัด รธน.ม.๓๙ ที่ว่า ในคดี อญ.ต้องสนฐไว้ก่อนว่า ผตห.หรือ จล.ไม่มีความผิด  (คว.นี้ก้ำกึ่งมากคะแนน ๕ ต่อ ๔)  คว.นี้ผูกพันศาลทั่ว ปท. ต้องออกหนังสือแจ้งเวียนว่า ต่อไปนี้ กม.อีก ๑๐๐ ฉบับ ที่ว่า  สนฐ ว่า จล ผิดไว้ก่อนแล้วให้ จล สืบแก้ก็อาจมีปัญหา  เพราะ หลายเรื่องทาง ศก. ,  รัฐไม่รู้เห็น  จึงผลักภาระพิสูจน์ให้ จล.พิสูจน์ว่าตัวเองไม่ผิด  
                    คนพิการมาสมัครสอบ ผช.ผพพ.  กต.ลงมติว่า  ไม่เหมาะสมจะเป็นศาล  ห้ามสมัคร อ้าง ม ๒๖(๑๐) (....)  เขาฟ้องศาล รธน ว่า  เลือกปฏิบัติต่อคนพิการ   ศรธน ชี้ว่า  ม ๒๖  ไม่ขัด รธน  
                     ก่อแก้ว พิกุลทอง  ศาลถอนประกันแล้ว  พ้นจากสภาพ สส.หรือไม่ ศรธน. ต้องชี้ต่อไป
                    คดีมาสู่ ศรธน. ๑๐๐ คดี/ปี  

ศาลปกครอง
                   คดีที่มาสู่ ศปค. (๑๐,๐๐๐คดี/ปี)   ๑ จนท.รัฐ พิพาทกันเอง  ไล่ออกไม่ชอบด้วยระเบียบ     ๒  รัฐพิพาทกับเอกชน  เช่น ทำนอกอำนาจ ไม่ถูกตามรูปแบบ พรบ พัสดุ    ไม่สุจริต  เลือกปฏิบัติ  สร้างภาระแก่ ปชช  เกินจำเป็น  เรื่องล่าช้า  จนท หมกงาน  ,ละเมิดทางปกครอง  , ส.ทาง ปค.  เพื่อให้ศปค ตรวจสอบ จนท รัฐอีกชั้นหนึ่ง    แต่วินัยทาร  วินัยตำรวจ ไม่อยู่ในอำนาจศาลปกครอง  ย้าย ปลัด กลาโหม  อ้างผิดวินัย  ฟ ศปค ไม่ได้  แต่ถ้าย้าย อ้าง เหมาะสม  อันนี้ ฟ ศปค ได้  ชาวบ้านเดือดร้อนสนามบิน หนวกหูก็ ฟ ศปค.ได้  
                   ถอด ยศ ทักษิณ  ก็อยู่ในอำนาจ ศปค เพราะ เป็น คุณสมบัติ  ไม่ใช่วินัย  
                   กต.ลงโทษ ผพพ.  ก็เป็นวินัย  ศปค ไม่มี อน.มาตรวจสอบการใช้อำนาจวินัย  
                   คดีแรงงาน ทรส.ปญ. การค้า รว.ปท.  ลลล ภาษี  มี กม เฉพาะแล้ว  ไม่อยู่ใน อน ศปค  
                   ศปค ใช้ระะไต่สวน คือ ศาล ถามเอง  ทนายต้องพร้อมมากๆในด้านข้อมูล  
                   วิธีพิจ ปค. เอาวิ แพ่ง มาใช้ด้วย เช่น คุ้มครองชค.  
                   อยค.คดี ปค ๙๐ วันนับแต่รู้เหตุมูลฟ้อง 
                   ศปคสูงสุด มี อคณ ๕ คน  ศปค ชต ใช้ ๓ คน  หลักเสียงข้างมาก แต่เสียงข้างน้อย ทำความเห็นแย้งได้  
                   จะมีการเรียกปชุมใหญ่ก็ได้  
                   เนติ ก็มี พรบ รองรับ คดีก็อาจมา ศปค ได้  
                    ศปค มีที่ภูมิภาคอีก ๗ ศาล 
ศาลทหาร
                    ใช้ พรบ ศ ทหาร มีแบบเวลาปติ  กับเวลาสงคราม  ชาวบ้านทำผิดร่วมกับทหารไม่ขึ้นศ ทหาร  นร.ทหารก็ขึ้น ศ ทหารได้  แต่ถ้าอยู่ใน อน ศ เด็กต้องไป ศ เด็ก  เชลยขึ้น ศ ทหาร  
                    ตลก.ศ ทหาร มี นายทหารสัญญาบัตร (นัก รบ)ร่วมกับตุลาการธรรมนูญ(นัก กม)  คนฟ้องคดีก็เป็นอัยการทหาร  อท ฎีกามีเวลาเพียง ๑๕ วัน  มีทนายได้  

 ศ.ยุติ. 

                  ผพพ.๔,๓๐๐ คน  (๒๕๕๕)  
                  ศชต. ประกอบด้วย ศ แขวง ศจว.  ศชำนัญ คดีในศชต. ๑,๐๐๐,๐๐๐ คดี/ปี  
                  ศอท. ๑๐ แห่ง  ๑๐๐,๐๐๐ คดี/ปี  คดีไม่เป็นสาระเช่น คดี ขกม.เดินตามกันมานาน  ไม่ควรให้ อท ฎีกา  แต่ทุกวันนี้ กม ยังเปิดช่องให้ ขกม.  น่าจะใช้ ๒๑๙ ว ๒ อ้างว่าไม่เป้นสาระตีตกไปเลย  ปัจจุบัน อท.๑๐ประเด็น กต้องเขียนตอบ ๑๐ ประเด็น  
                  ศฎ.  มี๑๐,๐๐๐ คดี/ปี  แบ่งเป็นแผนกคดีอญของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองด้วย  มองว่าคดีการเมืองวิ่งเต้นรุนแรง จึงต้องมีแผนกเฉพาะ  ใช้ อคณ ๙ คน  สุ่มเอาแบบไม่รู้ชื่อ อคณล่วงหน้า  ตัดสินครั้งเดียวจบ  คนก็หาว่า  มันไม่มีการกลั่นกรอง   ต่อมา รธน.๒๕๕๐ ว่า  ถ้ามี ลฐ ใหม่ก็พิจ ใหม่ได้  แต่ปัจจุบันยังยากที่จะมี ลฐ ใหม่   แผนกการเมือง รับทำคดี ฟ นานก รมต  สส. สว.   ได้หมด  คดีกล้ายาง   หวยบนดิน  ที่ดินรัชดา ร่ำรวยผิดปกติ  รักเกียรติทุจริตยาที่ กท สาธารณสุข  พรบ.ฮั๊ว  ปอ.๑๔๗-๑๖๖ ตัวการ ผู้ใช้ สนับ   ยืน บช.เท็จ  ทุจริต  ก็ ฟ ที่แผนกการเมืองได้  
                  นอกจากนี้ ยังมี แผนกคดีเลือกตั้งด้วย  
                   ศ.เยาวชน กม ใหม่  ๒๕๕๓ กน ว่า  ให้มี ศ ยช. ทุก จว.  แต่บ ปห ว่า  จว.ใหญ่ๆ ตร.ต้องพาเด็กมาไต่สวนการจับ  ไม่มีค่าน้ำมันรถ  ก็เลยไม่จับเด็กซะเลย  คดีครอบครัว สวัสดิภาพเด็ก ก็ฟ ศยช.ได้  อคณ มี ผพพ อาชีพ ๒ คน  ผพพ สมทบ ๒ คน  โดย ผพพ สมทบต้องเป้น ญ ๑คนด้วย  
                    ใช้ทฤษฎี  ฟื้นฟูเยียวยากับเด็ก จึงละมุนละม่อม  แต่สำหรับคดีผู้ใหญ่ มุ่งลงโทษอาญาให้เข็ด  แก้แค้น  เชื่อไก่  และ ตัดจากสังคมเพื่อสงคมปลอดภัย  ออกแนวรุนแรง
                     ศ แรงงาน ใช้ พรบ ตั้งศแรง.  มี ศ แรงงานกลาง  เขตพื้นที่ กทม และ ปริมณฑล  มีศแรง.ภาค ๑-๙  อยู่ที่ จว.ใหญ่ๆ  รับคดี ส จ้าง  สิทธิแรงงาน  ตาม ม๘ พรบ ตั้งศแรง.   มี ผกก.อาชีพ ๒ คน  ผพพสมทบฝ่าย นจ ๑ คน  ฝ่าย ลจ อีก ๑ คน   ใช้วิธีพิจ แบบไต่สวน ไม่มีค่าธรรมเนียม  มีนิติกรช่วยดูแล  เน้นประหยัด สะดวก เร้ว  อธิบดีศ ออกข้อบังคับพิจรณาคดีได้โดย ปธศฎ เห็นชอบ  การอท  ส่งตรงไป ศฎ ทันทีเลย  อทได้เฉพาะ ขกม.   ขทจ ยุติที่ศชต เสมอ  และ ศ สั่งเกินคำขอได้  (ม  ๕๒) ต่างจากคดีแพ่งทั่วไปห้ามสั่งเกินขอ
                     ศลลล  มีศลลล กลาง ศเดียว ใน ปท.  ไม่มี จว  ไม่มี ภาค    ตั้งที่แจ้งวัฒนะ  เขต อน ทั่ว ปท.  อท ใน ๑ เดือนไปยัง ศฎ.  อทได้เฉพาะ คพพ ยกฟ้อง.  (ม๒๔ พรบ ลล )  ไม่มี ผพพ สมทบ เพราะ ต้องเชีย่วชาญ  
                    ศ ภาษี  ไม่มีผพพ สมทบ  ตั้งตาม พรบ ตั้งศภาษี    ไม่มีศจว.ภาษี  มีศภาษีกลางที่เดีว เพราะคดีไม่มากพอ  พิจเฉพาะคดีแพ่ง  มี อคณ ๒คน   อทไป ศฎ แผนกคดีภาษีได้เลย  
                    ศ ทรสปญ.  มีผพพ สมทบ  เป็นคนรู้เรื่องการค้า รวปท.  มีศทรส.กลางที่เดียว  เขต อน ทั่ว ปท.  รับฟ ทั้งแพ่ง อาญา ลิขสิทธิ สิทธิบัตร เครื่องค้า  ส ถ่ายทอด  ส ใช้สิทธิ  คดีการค้ารวปท.  รวมขนส่งทางทะเล  อากาศ  ทางบกข้ามปท ปกันภัย  เรือเป็นหนี้ก็กักเรือ  ทุ่มตลาดแข่งการค้า  บริษัทไทยข้ามชาติ  ปรับค่าเสียหายบริษัทค้าข้ามชาติ   อทไปยัง ศฎ แผนกคดีทรส. ทีเดียวเลย  
                 

                   

ไทยหลังอาน สุนัขเฝ้าบ้านเก่ง

ลูกสุนัขไทยหลังอานเกรดสวยสายตราด โทร.0871763192 Line ID:porntip9119 , ขายสุนัขไทยหลังอาน , ลูกสุนัขไทยหลังอาน , จำหน่ายสุนัขไทยหลังอาน , ไทยหลังอานราคา , ไทยหลังอานนิสัย , หมาไทยหลังอานแท้ , หมาหลังอานแท้ ,แนะนำที่ขาย ,แนะนำฟาร์ม ,หลังอานลิ้นดำ,หลังอานเล็บดำ,หลังอานหางดาบ,หลังอานหูตั้ง,ดามหูหลังอาน,หลังอานฟันชิด,จัดฟันสุนัขไทยหลังอาน,สุนัขขนกำมะหยี่,หลังอานสีกลีบบัว,หลังอานสีดำ,สุนัขตั้งครรภ์,สุนัขไทยหลังอานแจกฟรี,แจกหมาฟรี,สุนัขไทยหลังอานหาบ้าน,สุนัขไทยหลังอานจันทบุรี,สุนัขไทยหลังอานตราด,สุนัขไทยหลังอานสายเอกลักษณ์,สุนัขไทยหลังอานสีแดงเม็ดมะขาม,ปากมอม,หน้าดำ,กำจัดเห็บสุนัข,ดูแลสุนัขขนกำมะหยี่,สุนัขแพ้ยุง,ผิวหน้งแพ้ยุง,ยาแก้อักเสบสุนัข,สุนัขป่วย,ดูแลสุนัขไทยหลังอาน,สุนัขไทยหลังอานดุ,สุนัขดุกัด,ถูกสุนัขกัด,ลูกสุนัขไทยหลังอานย้ายบ้าน,กักขังสุนัข,ลงโทษสุนัข,สุนัขไทยหลังอานเฝ้าบ้าน,เฝ้าสวน,สุนัขไทยหลังอานจับงู,สุนัขต่อสู้กับงู,ลิ้นดำแก้พิษงู,สุนัขสวย,สุนัขไทยหลังอานเกรดประกวด,สายเลือดแชมป์,ไทยแชมป์,สุนัขไทยหลังอานเชียงราย,สุนัขไทยหลังอานเชียงใหม่,สุนัขไทยหลังอานกรุงเทพ,สุนัขไทยหลังอานภูเก็ต,สุนัขไทยหลังอานอุดร,อิสาน,ใต้,เหนือ,ตะวันออก,สุนัขไทยหลังอานเกาะกูด,ป้าสมคิดวัชรัมพร,คอกเผดิมชัยฟาร์ม,ฟ้าสมคิดเผดิมชัย, สุนัขสีสวาด,สีแดงเข้ม,สีกลีบบัว,สีโกโก้,ลิ้นด่าง,สุนัขไทยหลังอานเห่า,อาหารสุนัข,ยาสุนัข,วุคซีนสุนัข,อายุสุนัข,ส่งมอบสุนัขทางเครื่องบิน,ส่งสุนัขไปอิสาน,ส่งสุนัขกรุงเทพ,มุมขาสุนัข,เส้นหลังสุนัข,ขาหลังสุนัข,การโพสต์ท่าสุนัข,อานเข็ม , อานธรรมดา , ขนที่ย้อนกลับ ,อานแผ่น, อานม้า, อานเทพนม, อานพรม, อานธนู,อานลูกศร ,อานพิณ,อานใบโพธิ์, อานไวโอลิน, อานโบว์ลิ่ง , อานหูกระต่าย , ฟันขบแบบกรรไกร ,ฟันขบแบบเรียบเสมอกัน,กะโหลก, อุปนิสัย , จังหวัดจันทบุรี, จังหวัดตราด, สุนัขตัวมันใหญ่ มันสูง 2 ศอก, TH.CH. , Int.TH. ,อนุรักษ์, พัฒนา ,การประกวด, สมาคมพัฒนา , Champion, สุนัขนำเข้า , แชมเปี้ยน, พ่อพันธุ์, แม่พันธุ์, BEST IN SHOW, INTERNATIONAL CHAMPION, พันธุ์พื้นเมือง, อานที่สมดุล, การสบของฟัน , อัณฑะ , มุมขาหลัง, ,สุนัขไทยหลังอานสายตราด,สุนัขจตุจักร,กรุงเทพฟาร์มสุนัข,ขายสุนัขกรุงเทพ,สุนัขไทยหลังอานกรุงเทพ, เชียงใหม่สุนัขไทย,สุนัขไทยหลังอานภูเก็ต,สุนัขไทยหลังอานเชียงใหม่,sell, for sell, dogs, TRD,thairidgeback, blue thairidgeback , red thairidgeback , ISABELLA , FEMALE , MALE, Thai ridgeback dog, Ridgeback dog, Primitive, pet, puppy, Thai Dog, Mahthai, Lang ahn,พรทิพย์เชียงรายฟาร์ม, สายเอกลักษณ์,แนะนำสุนัขไทยหลังอาน,ไทยหลังอาน ,ใบเพ็ดดีกรี,ส่งสุนัข,ซื้อหมา,ขายหมา,หมาไทย,หมาไทยหลังอาน,หมาไทยตราด,หมาหลังอานสวย,นิสัยหมาหลังอาน ,วัคซีนสุนัข,แนะนำฟาร์มสุนัข ,ราคาหมาหลังอาน, ราคาถูก, สุนัขไทยหลังอาน , หลังอานป้าสมคิด, ป้าสมคิดวัชรัมพร , คอกสุนัขไทยหลังอาน , ฟาร์มสุนัขไทยหลังอาน , หลังอานพรทิพย์ ,พรทิพย์ไทยหลังอาน, สุนัขไทยหลังอานเชียงราย,เชียงรายไทยหลังอาน,ภาคเหนือไทยหลังอาน,ไทยหลังอานภาคเหนือ,แม่สายไทยหลังอาน ,หลังอานแม่สาย, สุนัขไทยหลังอานสีสวาด,สุนัขไทยหลังอานสีแดงเม็ดมะขาม,สีแดงเม็ดมะขาม,สีกลีบบัว,ขนสั้น,ขนกำมะหยี่,อานโบว์ลิ่ง,อานใบโพธิ์,อานเทพพนม,อานเข็ม,อานพิณ,มุมขาสุนัข,เส้นหลัง,ลิ้นดำ,เล็บดำ,ตาดำ,ฟันสุนัข,ขวัญที่อาน,สุนัขเฝ้าบ้าน,สุนัขขนาดกลาง,ฝึกสุนัข,ไทยหลังอานสายตราด,ไทยหลังอานจันทบุรี,ไทยหลังอานไทยแชมป์,ประกวดสุนัขไทยหลังอาน,หาซื้อสุนัขไทยหลังอาน,เชียงใหม่ขายสุนัขไทยหลังอาน,อำเภอเมืองเชียงรายขายสุนัข,สุนัขไทยหลังอานสายเลือดแชมป์,ไทยหลังอานพ่อพันธุ์,ไทยหลังอานแม่พันธุ์,เลี้ยงเล่น,เฝ้าสวน,สุนัขฉลาด, กรุงเทพมหานคร ,กระบี่ ,กาญจนบุรี ,กาฬสินธุ์ ,กำแพงเพชร ,ขอนแก่น ,จันทบุรี ,ฉะเชิงเทรา ,ชลบุรี , ชัยนาท ,ชัยภูมิ ,ชุมพร ,เชียงราย ,เชียงใหม่ ,ตรัง ,ตราด ,ตาก ,นครนายก , นครปฐม ,นครพนม ,นครราชสีมา , นครศรีธรรมราช , นครสวรรค์ , นนทบุรี , นราธิวาส , น่าน ,บึงกาฬ ,บุรีรัมย์ , ปทุมธานี , ประจวบคีรีขันธ์ , ปราจีนบุรี , ปัตตานี ,พระนครศรีอยุธยา , พังงา , พัทลุง , พิจิตร , พิษณุโลก , เพชรบุรี , เพชรบูรณ์ , แพร่ , พะเยา , ภูเก็ต ,มหาสารคาม , มุกดาหาร , แม่ฮ่องสอน ,ยะลา , ยโสธร , ร้อยเอ็ด , ระนอง , ระยอง ,ราชบุรี , ลพบุรี , ลำปาง , ลำพูน , เลย , ศรีสะเกษ ,สกลนคร , สงขลา , สตูล , สมุทรปราการ , สมุทรสงคราม ,สมุทรสาคร , สระแก้ว , สระบุรี , สิงห์บุรี ,สุโขทัย ,สุพรรณบุรี ,สุราษฎร์ธานี ,สุรินทร์ ,หนองคาย ,หนองบัวลำภู , อ่างทอง ,อุดรธานี , อุทัยธานี , อุตรดิตถ์ , อุบลราชธานี , อำนาจเจริญ,เลี้ยงสุนัขพันธุ์อะไรดี,อยากเลี้ยงสุนัข,ชอบสุนัข,คนรักหมา,นิสัยสุนัขแต่ละพันธุ์,อยากได้ลูกสุนัข,สุนัขยอดนิยม,สุนัขเฝ้าบ้านเก่ง, กม.อญ. คือ
           กม.ที่ บญ.ว่า 1 กระทำหรือไม่กระทำอย่างใดเป็นความผิด และ 2 กำหนดโทษที่จะลงแก่ผู้กระทำผิดไว้ด้วย เช่น ฆ่าผู้อื่น 288 ไม่ช่วยผู้ตกในภยันตรายแห่งชีวิต 374
           ส่วนโทษ จะต้องเป็น ประหาร จำคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพย์ ตาม 18 เท่านั้น 
กฏหมายอาญาต่างกับแพ่ง 5 อย่าง คือ  
           1 อาญาเป็น กม มหาชน ว่าด้วยความสัมพันระหว่างรัฐกับเอกชน 
            กม แพ่งเป็น กม เอกชน ว่าด้วยความสัมพันธ์ รว.เอกชนกับเอกชน เช่น ละเมิด ผิดสัญญา มรดก ทรัพย์สิน ฯ
           2 ผิด กม อาญา แผ่นดิน รัฐใช้อำนาจบังคับได้ทันที ตำรวจจับ สอนสวน อัยการฟ้อง ศาลตัดสิน จองจำ โดยไม่คำนึงว่า ผสห.จะติดใจหรือไม่ แต่คดีแพ่งโจทก์ต้องขอให้รัฐเข้ามาบังคับโดยจ่ายค่าธรรมเนียมศาลด้วย 3
            3การลงโทษทางอาญา ,มุ่งให้เข็ดหลาบ จะได้ไม่กล้าทำอีก แก้แค้นแทนสังคมและ ผสห. เชือดไก่ให้ลิงดู และตัดออกจากสังคมชั่วคราว(จำคุก) ทำให้สังคมปลอดภัยขึ้น แต่ กม.แพ่ง มีวัตถุประสงค์ให้ ผสห.กลับคืนสู่ฐานนะเดิมก่อนมีการละเมิด
             4 โทษปรับ ริบทรัพย์สินในทางอาญา ทรัพย์ตกเป็นของรัฐ แต่คดีแพ่ง ทรัพย์ไม่ตกเป็นของรัฐ 5 กม.อาญา ต้องตีความโดยเคร่งครัด ตาม ม.2 ที่ว่า "บค.จักต้องรับโทษในทาง อญ.ต่อเมื่อได้กระทำการอัน กม.ที่ใช้ ในขณะกระทำนั้นบัญญัติเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้ และโทษที่จะลงแก่ผู่ที่กระทำความผิดนั้น ต้องเป็นโทษที่ บญ.ไว้ใน กม. "
              ส่วน กม.ปพพ.ม.4 ว่า กม.นั้น ต้องใช้ในบรรดากรณีซึ่งต้องด้วยบท บญ ใดๆแห่ง กม ตามตัวอักษร หรือตามความมุ่งหมายของบท บญ นั้นๆ เมื่อไม่มี กม ที่จะยกมาปรับคดีได้ ให้วินิจฉัยคดีนั้น ตามจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น ถ้าไม่มีจารีตประเพณีเช่นว่านั้น ให้วินิจฉัยคดี อาศัยเทียบเคียงบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง และถ้าบทกฎหมายเช่นนั้นก็ไม่มีด้วย ให้วินิจฉัยตามหลักกฎหมายทั่วไป
              5 การบังคับตาม กม.อญ.สิ้นเปลืองกว่า กม.แพ่ง เพราะ รัฐต้องจัดหา ตำรวจ อัยการ ศาล ราชทัณฑ์ ให้เพียงพอ เพื่อให้บังคับใช้กฎหมายอย่างเสมอภาค ส่วนคดีแพ่ง รัฐเข้ามาเกี่ยวเฉพาะพิพากษา บังคับคดี โดย ผสห.มีส่วนออกค่าใช่จ่ายในการดำเนินคดีด้วย

 กม.อญ ต่างกับ ละเมิด

                1.วัตถุประสงค์ อาญามุ่งให้เข็ด แก้แค้น เชือดไก่ ตัดออกจากสังคม แต่ละเมิดมุ่งให้ชดใช้ค่าเสียหายให้คืนสู่ฐานะเดิม
                  2.หลักความยินยอม กม.อญ.โดยหลัก ไม่ยอมรับหลักความยินยอม มายกเว้นความผิด เช่น การยอมให้ทำร้ายเพราะเชื่อว่าตนคงกระพัน แต่ยอมรับความยินยอมที่ไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดี เช่น กีฬา-ผ่าตัดของแพทย์ ในทางละเมิด(แพ่ง) วัตถุประสงค์เป็นการชดใช้ค่าเสียหาย ถ้ายอมให้ทำ ถือว่ายอมรับผลเสียหายที่จะเกิดขึ้นแก่ตนแล้ว อย่างไรก้ตาม หากยินยอมสำหรับการกระทำที่ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย หรือขัดต่อความสงบฯ จะอ้างยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดเพื่อละเมืดมิได้(ม 9 พรบ ว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม 2540)

 3.การวินิจฉัยความรับผิด ทางอาญา วินิจฉัยจำเลยฝ่ายเดียว เช่นประมาทหรือไม่ ส่วนละเมิด ศาลจะให้ชดใช้เท่าใด คำนึงถึงความประมาทของ ผสห.ประกอบด้วย (442 " ถ้าความเสียหายได้เกิดขึ้น เพราะความผิดของผู้เสียหายประกอบด้วยไซร้ ท่านให้นำบท บญ แห่งมาตรา 223 มาใช้บังคับโดยอนุโลม " ม 223 ว่า " ถ้าฝ่ายผู้เสียหายได้มีส่วนทำความผิด ก่อให้เกิดความเสียหายด้วยไซร้ ท่านว่าหนี้อันจะต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ฝ่าย ผสห มากน้อยเพียงใดนั้น ต้องอาศัยพฤติการณ์เป็นประมาณ ข้อสำคัญก็คือว่า ความเสียหายนั้น ได้เกิดขึ้นเพราะฝ่ายไหนเป็นผู้ก่อยิ่งหย่อนกว่ากันเพียงไร "

 4.ผู้รับผิด

ก) อายุของผู้กระทำผิดอาญา ถ้าน้อยเกินไป การจะลงโทษให้เข็ด แก้แค้น เชือดไก่ ตัดจากสังคม ย่อมไม่สมควร ( ม 73 ว่า เด็กอายุ ยังไม่เกิน 10 ปี กระทำการอันกฎหมาย บญ เป็นความผิด เด็กนั้นไม่ต้องรับโทษ ม 74 เด็กอายุว่า 10 ปี แต่ยังไม่เกิน 15 ปี กระทำการอันกฎหมาย บญ เป็นความผิด เด็กนั้นไม่ต้องรับโทษ แต่ให้ศาลมีอำนาจที่จะดำเนินการดังต่อไปนี้ ( 1) ว่ากล่าวตักเตือนเด็กนั้นแล้วปล่อยตัวไป.....) แต่ในทางละเมิด แม้เด็กจะอายุน้อย ไม่อาจรับผิดชดใช้ค่าเสียหายได้เอง บิดามารดา ผู้ปกครองก็จะต้องรับผิดตาม ปพพ 429 ว่า บค.ใดแม้ไร้ความสามารถเพราะเหตุเป็นผู้เยาว์หรือวิกลจริต ก็ยังต้องรับผิดในผลที่ตนทำละเมิด บิดามารดาของบุคคลเช่นว่านี้ ย่อมต้องรับผิดร่วมกับเขาด้วย ....)

 ข) ในทางอาญา โทษให้เป็นอันระงับไปด้วยความตายของผู้กระทำผิด (38) ส่วนทางละเมิด แม้ผู้ทำละเมิดตาย กองมรดกของผู้ตายไม่หลุดพ้นความรับผิดที่จะต้องชดใช้ค่าเสียหายแก่ผู้ถูกทำละเมิด

 5.โดยหลักแล้วกระทำผิด อญ ก็จะเป้นละเมิดอยู่ด้วย แต่มีความผิด อญ บางประเภท ไม่เป็นละเมิด เช่น ฐานกบฏ ขับรถด้วยความเร้วสูง ส่วนละเมิดบางประเภท ไม่เป็นความผิด อญ เช่น ทำให้เสียทรัพย์โดยประมาท (420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย ให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น )

 6.การดำเนินคดี ความผิด อญ ที่มิใช่ความผิดต่อส่วนตัว รัฐดำเนินคดีได้เอง โดย ผสห ไม่ต้องให้ความเห็นชอบก่อน แต่ละเมิด ผสห ต้องฟ้องต่อศาล และชำระเงินค่าขึ้นศาลตามทุนทรัพย์ แต่ความผิดอาญาบางประเภท ขอบังคับจำเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทนโดยไม่ต้องเสียค่สธรรมเนียม ตาม ปวิอ.44/1 ในคดีที่ พงอ.เป็นโจทก์ ถ้าผู้เสียหายมีสิทธิที่จะเรียกเอาค่าสินไหมทดแทน.....ผสห.จะยื่นคำร้องต่อศาลที่พิจารณาคดีอาญาขอให้บังคับจำเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ตนก็ได้ และ 253 ว่า ในคดีที่ พงอ.เป็นโจทก์ ซึ่งมีคำร้องขอบังคับจำเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทน มิให้เรียกค่าธรรมเนียม....)

 ความผิดอันยอมความได้ 

โดยหลักความผิดทาง อญ.เป็นอาญาแผ่นดินทั้งสิ้น

 รัฐดำเนินคดีได้ทันทีโดยคำร้องทุกข์ของ ผสห.ไม่เป็นเงื่อนไขในการดำเนินคดี มีความผิดอันยอมความได้เป็ย ขยว.เท่านั้น เพราะ ผสห.ได้รับความเสียหายมากกว่ารัฐ จึงเปิดโอกาสให้ ผสห.ตัดสินใจเองว่า ให้รัฐบังคับกับผู้กระทำผิดหรือไม่ เช่น ฐานข่มขืนใจให้ผู้อื่นกระทำการ (309 ว 1) หน่วงเหนี่ยวหรือกักขังผู้อื่น (310 ว 1) หมิ่นประมาท (326) ฉ้อโกง (341)โกงเจ้าหนี้ (349) ยักยอก (352) ทำให้เสียทรัพย์ (358) บุกรุก(362) แต่ถ้า ผสห.ไม่ติดใจเอาความ พงส.ไม่มีอำนาจสอบสวน(ปวิอ.121 ว่า พงส.มีอำนาจสอบสวนคดี อญ ทั้งปวง แต่ถ้าเป็นคดีความผิดต่อส่วนตัว ห้ามมิให้ทำการสอบสวน เว้นแต่จะมีคำร้องทุกข์ตามระเบียบ ) หรือมีการถอนคำร้องทุกข์ ถอนฟ้อง ยอมความ สิทธินำคดีอาญามาฟ้อง ย่อมระงับไป (ปวิอ.39(2) )

 หลัก ไม่มีความผิด ไม่มีโทษ หากไม่มีกฎหมาย 

เป็นหลักสากลที่นานาอารยประเทศยอมรับ
 รธน.แห่งราชอาณาจักรไทย ม 2 ว่า บค.ไม่ต้องรับโทษทาง อญ เว้นแต่ได้กระทำการอัน กม ที่ใช้อยู่ในเวลาที่กระทำการนั้น บญ เป็นความผิดและ กำหนดโทษไว้ และ โทษที่จะลงแก่ บค นั้น จะหนักกว่าโทษที่ กำหนดไว้ใน กม ซึ่งใช้อยู่ในเวลาที่กระทำความผิดไม่ได้ ซึ่ง บญ รองรับ ปอ.ม.2 ไว้

 เพื่อเป็นหลักคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของ ปชช. มีอยู่ 4 หลัก ดังนี้ 1.

1.บค.จักต้องรับโทษในทาง อญ.ต่อเมื่อได้กระทำการอัน กม.ที่ใช้ ในขณะกระทำนั้นบัญญัติเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้ เช่น กระทำชำเราผิดธรรมดามนุษย์ ไม่มีความผิด

 2. กม อญ จะย้อนหลังให้เป็นผลร้ายมิได้ กล่าวคือ ในขณะกระทำไม่มี กม บญ ว่าผิด ต่อมาจะออก กม ว่าผิดแล้วย้อนหลังให้การกระทำนั้นผิดไม่ได้ หรือจะออก กม ใหม่มาเพิ่มโทษ ย้อนหลังก็ไม่ได้ เพราะเอกชนย่อมถือว่าสิ่งใด กม ไม่ห้ามไว้ย่อมทำได้ เมื่อขณะทำไม่มี กม ห้าม แล้วเอกชนจะรู้ได้อย่างไรว่าผิด ถ้าหากปล่อยให้ออก กม เอาผิดย้อนหลัง เอกชนย่อมไม่แน่ใจเลยว่าการกระทำใดจะผิด และ หากเขาถูกลงโทษ ย่อมอ้างได้ว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมจากรัฐ

 แต่มีบางอย่างที่ ย้อนหลังเอาผิดเป็นผลร้ายได้ โดยอ้างว่า ไม่ใช่โทษ 1.ถอนสัญชาติ เช่น

                           1. เด็กที่พ่อแม่เป็นญวณ เกิดในไทย ก็เป็นคนไทยตาม กม. หลักดินแดน แต่ประกาศของคณะปฏิวัติ ถอนสัญชาติไทยจากเด็กได้เลย เพราะไม่ใช่คำสั่งที่มีผลให้บุคคลต้องรับโทษทางอาญา ดังนี้ ถ้าเด็กเดินทางข้ามจังหวัด ย่อมผิด ปอ 368 ข้อหาต่างด้าวเดินทางออกนอกเขตควบคุมโดยไม่ได้รับอนุญาต

                            2.พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ2518 ม.20 บังคับย้อนหลังไปถึงทรัพยืสินของ จนท.ของรัฐ ที่ได้มาโดยมิชอบก่อน กม นี้ใช้บังคับได้ เป็นวิธีการทางวินัย ไม่ใช่โทษ อญ

                             3.การเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง ก็ไม่ใช่โทษ อญ 

                             4.จล.อายุ 16 ปี ศาลเปลี่ยนจำคุกเป็นฝึกอบรมในสถานพินิจ ก็มิใช่โทษทางอาญา


 3.ถ้อยคำใน กม อญ ต้องชัดเจน ปราศจากความคลุมเครือ และ โทษที่จะลงโทษ ก็ต้องชัดแจ้งด้วย เพื่อให้เอกชน"รู้ล่วงหน้า" ว่าสิ่งไหนทำได้หรือไม่ ทำแล้วเสี่ยงขนาดไหน จะบอกว่า ทำผิดความรู้สึกอันดี มีโทษ(กม.นาซี) ย่อมไม่ได้ ให้รับโทษ ตามความเหมาะสม ย่อมไม่ได้ กม.ต้องชัดเจนเพื่อมิให้ จนท.ใช้ดุลพินิจเลือกปฏิบัติโดยไม่มีขอบเขตด้วย

 4. ต้องตีความเคร่งครัดตามตัวอักษร ห้ามเทียบเคียงกมใกล้เคียง กล่าวคือ จะตีความเกินตัวบท เอาคนมาลงโทษไม่ได้ เช่น วางเพลิงเผาบ้าน กมส รวม ไม่ผิด 218(1) เพราะ ตัวบทใช้คำว่า"ทรัพย์ของผู้อื่น" ฆ่าตัวตายแล้วไม่ตายจะว่า พยายามฆ่า 288,80 ไม่ได้
                                 แต่มีบางเรื่องที่ไม่ใช่เทียบเคียง แต่เป็น ขยายความ ไม่มีกม ห้าม ก็ขยายความไป เอาผิดได้ 1.ปอ 335(11) ลักทรัพย์ของนายจ้าง ขยายความไปถึง ทรัพย์ที่อยู่ในความครอบครองของนายจ้างด้วย ตอนนี้เอาคำว่า ครอบครอง มาใส่ในตัวบทแล้ว 2.

ทรัพย์ใน 334 รวมถึงทรัพย์สินด้วย กระแสไฟฟ้า เป็นวัตถุไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้ จึงเป็นลักทรัพย์ได้ ลักเอาสัญญาณโทรศัพท์จากตู้สาธารณะก็ผิด 335(10) ลักทรัพย์ที่ใช้ หรือ มีไว้ เพื่อสาธารณะประโยชน์ด้วย 3.

ทำลาย ตาม 358 ขยายถึง เอาทรัพย์เขาไปทิ้งน้ำด้วย 4.

 คำว่า เข้าไปในอสังหาฯของผู้อื่น ตาม 362 แค่การเอาไม้กระดานไปตีปิดประตูห้องเขาก็ผิด บุกรุกแล้ว 

สังเกต วิธีการในคดีหมิ่นประมาท ไม่ใช่โทษตาม 18 มีเพียงให้โฆษณาคำพิพากษา 332 ไม่มีให้โฆษณาคำขออภัย ศาลสั่งให้โฆษณาขออภัยไม่ได้ตามหลักว่า การอันกระทบสิทธิ ปชช ทำไม่ได้เว้นแต่จะมี กม บญ ให้กระทำได้

 หลักกฎหมายย้อนหลังเพื่อเป็นคุณ กระทำได้
1.ถ้าตามบท บญ ของ กม ที่ บญ ในภายหลัง การกระทำเช่นนั้นไม่เป็นความผิดต่อไป ให้ผู้ที่ได้กระทำการนั้นพ้นจากการเป็นผู้กระทำผิด.... ม 2 ว 2 เช่น กม ลักษณะอาญา ร.ศ.127 ผู้ใดทำชำเราผิดธรรมดามนุษย์ ด้วยชายก็ดี หญิงก็ดี สัตว์เดรัจฉานก็ดี ท่านว่ามันมีความผิด ต่อมา มีการใช้ ปอ. ให้ยกเลิก กม ลักษณะอาญา ท ผู้กระทำย่อมพ้นผิด ถ้าถูกพิพากษาลงโทษแล้วก็ถือว่าไม่เคยต้อง คพพ. หลักนี้ใช้ถึง ประกาศกระทรวงที่ไม่ใช้ กม ด้วย เช่น จล.จำหน่ายก๊าซเชื้อเพลิงบิวเตนโดยไม่ได้รับอนุญาต จึงผิด พรบ.ว่าด้วยการเก็บรักษาน้ำมันเชื้อเพลิง ต่อมามีประกาศกระทรวงว่า บิวเตนไม่ใช่เชื้อเพลิง จล.ก็พ้นผิด

 2. ถ้า กม ที่ใช้ในขณะ กระทำความผิด แตกต่างกับกมที่ใช้ในขณะภายหลังการกระทำความผิด ให้ใช้ กม ในส่วนที่เป็นคุณแก่ผู้กระทำความผิดไม่ว่าในทางใด .... 3 ว 1 คำว่าเป็นคุณ

                       1. โทษเบากว่า กม เก่า ปรับ 2000 บาท กม ใหม่ ปรับ 200,000 จะลงโทษตาม กม ใหม่ไม่ได้ ศฎ.ล่วงลูกแก้ไขได้เอง อ้าง ข้อ กม เกี่ยวสงบฯ 2.

                        2.กม.ใหม่เป็นโทษ ลำดับหลังๆของ ม 18 เช่น กม เก่าจำคุก และ ปรับต่ำ กม ใหม่ ปรับแพงอย่างเดียว อย่างนี้ ลงโทษปรับต่ำได้อย่างเดียว

                       3.กม.เก่า จำคุก และ ปรับ กม ใหม่ จำคุก หรือ ปรับ แบบนี้ ใช้ กม ใหม่

                       4.กม ใหม่ โทษขั้นสูงต่ำกว่า เช่น กม เก่า คุกไม่เกิน 10 ปี กมใหม่ คุกไม่เกิน 5 ปี

                       5.ไม่มีโทษขั้นต่ำ ย่อมเป็นคุณกว่ามีโทษขั้นต่ำ

                        6.มี ขยว ความผิด โทษ ลดโทษ ย่อมเป็นคุณกว่า

                         7.ยอมความได้ เป็นคุณกว่า อญ แผ่นดิน เช่น กม เก่า ว่า ผจก มรดกยักยอกมรดกเป็น อญ แผ่นดิน กม ใหม่ว่า ยอมความได้ ให้ใช้ กม ใหม่ คือ ยอมความได้ แต่ศาลก็ลงโทษ จล อยู่ดี อ้างว่า ไม่มีร้องทุกข์ในผิดต่อส่วนตัวก็ไม่เป็นไรอ เพราะ ร้องทุกข์เป็นเงื่อนไขการสอบสวน ไม่ใช่การฟ้องคดีของ พงอ.

                        8.อยค.สั้นกว่า เป็นคุณกว่า

                         9.กม.กำหนดหลักเกณฑ์ไว้เข้มงวดกว่า เป็นคุณกว่า เช่น กม เก่า พรบ บัตรปจำตัวปชช กำหนดว่า ผู้ไม่มีสัญชาติไทยผู้ใด ยื่นคำขอบัตรโดยแจ้งข้อความอันเป็นเท็จ.. กม.ใหม่ว่า ผู้ใด กม เก่าย่อมเป็นคุณกว่า

                          10.กม.จำกัดจำนวนรวมของโทษจำคุกในความผิดหลายกรรม ย่อมเป็นคุณกว่า เช่น กม เก่าลงจำคุกเรียงกระทงได้ 100 ปี กม ใหม่ให้ จำคุกรวมไม่เกิน 50 ปี

 ความ"รับผิด"ในทาง อญ ต้อง  ครบ 3 คือ

 1.กระทำ "ครบ"องค์ประกอบที่กม.บญ. แบ่งได้อีก 4 คือ 1.1

 1.1กระทำ 
คือ การเคลื่อนไหวร่างกาย หรือไม่เคลื่อนไหวร่างกาย โดยรู้สำนึก คำว่ารู้สำนึก คือ คิด ตัดสินใจ กระทำ คำว่า เคลื่อนไหวร่างกาย คนละเมอ คนเป็นลมบ้าหมู ถ้ารู้ตัวก็ยังขับรถ หรือนอนกับคนอื่น เช่นนี้ ถือว่ากระทำแล้ว จะอ้างเคลื่อนไหวโดยไม่รู้สึกนึกไม่ได้

 ที่ว่า ไม่เคลื่อนไหว มี กระทำโดยงดเว้น คือ มีหน้าที่"โดยเฉพาะ"ป้องกันผล หน้าที่ 4 คือ

 1. ตาม กม บญ เช่น ปพพ 1563 บุตรต้องอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา 1564 ว่า บิดามารดา ต้องอุปการะเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์ 1461 ว่า สามีภรรยาต้องอุปการะเลี้ยงดูกัน ทอดทิ้ง เป็นงดเว้น รถพ่วงจอดไหล่ทาง มีหน้าที่จัดให้มีไฟสว่าง แม่มีหน้าที่เฝ้าระวังมิให้บุตรตกหลุมเสาเข็ม ประมาทก็เป็นงดเว้นได้ เช่นปล่อยปละให้ลูกหิวจนตาย งดเว้นก็พลาด 60 ได้ เช่น มีคนมาฆ่าลูก แต่แม่ก็อยากให้ลูกตาย คนร้ายฆ่ายิงลูก แต่กระสุนพลาดไปโดนลูกอีกคนตาย อันนี้แม่ผิด พยายามฆ่าลูกคนแรก และฆ่าลูกคนหลังโดยพลาด แต่ถ้ากระสุนไปโดนคนที่ไม่ใช่ลูก อันนี้ ไม่ต้องรับผิดต่อคนที่โดนกระสุนเพราะ ไม่มีหน้าที่ดูแล

 2. หน้าที่อันเกิดจากการยอมรับโดยเฉพาะเจาะจง เช่น ยอมรับเลี้ยงเด็ก พยาบาลรับดูแลคนไข้ อาสาดูแลลูกเพื่อนบ้านโดยไม่มีค่าจ้าง

3.หน้าที่อันเกิดจากการกระทำก่อนๆของตน เช่น ช่วยคนนอนหมดสติบนถนน จูงคนตาบอดข้ามถนน ต้องช่วยให้ตลอด

4. หน้าที่อันเกิดจากความสัมพันธ์พิเศษ เช่น พ่อลูก สามีภรรยาที่ไม่ชอบ กม. ก็มีหน้าที่ดูแลกัน กระทำโดยละเว้น จะเรียก ไม่กระทำ ก็ได้ คือ กม.อญ.บังคับให้ บค.กระทำการ เป็นหน้าที่"โดยทั่วไป" เช่น 374 เห็นผู้อื่นตกอยู่ในภยันตรายแห่งชีวิต ช่วยได้ ไม่ช่วย

 1.2 ครบ อปก.ภายนอก อปก.ภานนอก 3 คือ 

1.ผู้กระทำ 2.การกระทำ 3. วัตถุแห่งการกรทำ เช่น ผู้ใด/ฆ่า/ผู้อื่น-ผู้ใด/ลักเอา/ทรัพย์ของผู้อื่น/

 1.ผู้กระทำ มี 3 ประเภท 1.1.
                  1.1กระทำความผิดเอง เช่น ใช้สัตว์ สะกดจิตคนอื่นไปฆ่า

                 1. 2.กระทำผิดเองโดยทางอ้อม เช่น ใช้คนที่ไม่รู้ ขทจ.อันเป็น อปก.ภายนอกของความผิด ตาม 59 ว 3 ไปทำ เช่น ใช้คนไม่รู้ ไปเอาร่มที่เขาฝากไว้ หลอกให้คนเอายาพิษไปให้เขากิน หลอกว่าเป็นทรัพย์ตนให้ช่วยทำลายทรัพย์นั้น คนถูกใช้จะเป็น"เครื่องมือ" เสมอ หรือ หลอกให้ ก.ยิง ข. โดยตะโกนว่า ข.จะยิง ก. ก.จึงยิง ข.ตายเพื่อป้องกัน 68,สำคัญผิดว่ามีภัย 62 ว 1 ได้ คนหลอกก็ผิดเองทางอ้อม หรือ ไปหลอกตำรวจให้ไปจับ ก. ทั้งที่ บค.ตามหมายขับคือ ข.ฝาแผดของ ก. อันนี้ คนหลอกผิด 310 ตำรวจไม่ผิดเพราะ อ้าง 310+62 ว 1 ได้(ถ้าตำรวจปมาท จะผิด 311 กักขังโดยประมาท ตาม 62 ว 2) แต่ถ้าไปหลอกตำรวจว่า ก ผิด แล้วตำรวจขอศาลออกหมายจับ อันนี้ตำรวจทำชอบ กม. ไม่ต้องอ้างความสำคัญผิดใดๆ คนหลอกจึงไม่ผิด 310 แต่ผิด แจ้งความเท็จ 174 แจ้งความเท็จ /แต่ถ้า หลอก ก ไปยิง ข โดยอ้างว่าปืนไม่มีลูก ข ประมาทลองยิงใส่ ก ตามคำหลอก ข ผิด 291 ก ผิด 289 ทำผิดเองทางอ้อม สังเกตว่า ทันทีที่หลอกให้คนอื่นไปทำผิดโดยไม่รู้ เป็น"ลงมือ"ทันที " ผิดพยายามฆ่าแล้ว เพราะใกล้ชิดผลแล้ว ไม่ต้องรอเขาไปให้อาหารผสมยาพิษแก่ผสห.

 1.3.ผู้ร่วมกระทำความผิด มี 3 คือ ตัวการ (83) ผู้ใช้(84) คือ ผู้ถูกใช้รู้ ขทจ อปก.ผิด เช่น ก.จ้างเด็ก 6 ขวบไปลักปากกา เด็กก็รู้ว่าลัก ก.เป็นผู้ใช้ 334,84 เด็กได้ยกเว้นโทษ 73 เหตุส่วนตัวเด็ก 89 ผู้สนับสนุน (86) 2.กระทำถึงขึ้น"ลงมือ" แต่รับผิดก่อนลงมือมี 5 อย่าง คือ

1 ตระเตรียมวางเพลิง (219)

 2 เป็นสมาชิกหรือสมคบเป็นอั่งยี่หรือซ่องโจร(209-210)

3 ใช้ให้กระทำผิด 84 รับผิด 1 ใน 3 ทันที

 4 การกระทำแสดง(ส่อ)ว่าจะทำผิด ก็อยู่ในข่ายเรียกประกันทัณฑ์บนแล้ว(46)

 5.การริบทรัพย์สินที่มีไว้เพื่อใช้ในการ กทอ ความผิด (33)


1. 3.วัตถุแห่งการกระทำ 

 ถ้าไม่มีผู้อื่น เช่น ก.จะฆ่า ข แต่ ข หัวใจวายตายไปก่อนแล้ว ย่อมขาด อปก.ภายนอก ไปทำแท้งทั้งที่ตนไม่ท้อง ไปลักทรัพย์แต่เป็นทรัพย์ตัวเองอยู่แล้ว แต่มีความเห็นอีกแนวว่า 81 เอาความเข้าใจของ จล เป็นสำคัญ เช่น ผิด 288,81

 1.3 ครบ ปปก.ภายใน(ดูในบทความอื่น)

 1.4 ผลสัมพันธ์กับการกระทำ (ดูในบทความอื่น)

(ถ้าไม่สัมพันธ์ ก็ "ไม่ต้องรับผิดในผล) ห้ามวิเคราะห์ข้ามลำดับ เช่น ไม่มีการกระทำ ให้จบทันที ถ้ามีการกระทำแต่ไม่ครบ อปก.ภายนอก ก็จบทันที ไม่ต้องดูเรื่อง อปก.ภายใน อีก 

2.การกระทำนั้น ไม่มี กม ยกเว้นความผิด

 2.1 กม ยกเว้นความผิดใน ปอ. เช่น ป้องกัน ม 68 ทำแท้งกรณีพิเศษ 305 แสดงความคิดเห็นโดยสุจริต329 แสดงความคิดเห็นในกระบวนพิจารณาในศาล 311

 2.2 หลัก กม ทั่วไป เช่น จารีตประเพณีให้ครูตีเด็กได้ พระภิกษุตีศิษย์วัดได้ (ไม่ขัด ม 2 เพราะเป็นคุณ อ้างหลัก กม ทั่วไปได้) 

2.3 กม ยกเว้นความผิดตาม รธน เช่น 130 ว 1 ในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฏร์ ที่ประชุมวุฒิสภา .... แสดงความคิดเห็น ย่อมเป็นเอกสิทธิ์โดยเด็ดขาด 

2.4 กม ยกเว้นความผิดใน ปพพ. เช่น เจ้าของที่ดินตัดรากไม้ที่รุกเข้ามาจากที่ดินที่ติดต่อ ไม่ผิดทำให้เสียทรัพย์ 1347 2.5 กม ยกเว้นความผิดใน ปวิอ. เช่น 78 ตำรวจจับกุมความผิดซึ่งหน้าหรือจับบุคคลมีหมายจับ ผู้จับไม่มีความผิดต่อเสรีภาพ (ห้ามวิเคราะห์ข้ามลำดับ ถ้ามีเหตุยกเว้นผิดแล้ว จบเลย ไม่ต้องดูเหตุยกเว้นโทษอีก) ผลของ ยกเว้นความผิด คือ ไม่ผิด ก.ยิง ข. ข.ยิง ก.อ้างป้องกัน ค.ช่วยชีวิต ก. โดยยิง ข. ย่อมไม่มีภยันตรายละเมิด กม.ให้อ้าง ,

 3.การกระทำนั้น ไม่มี กม ยกเว้นโทษ

 เช่น กระทำความผิดโดยจำเป็น ม 67 การกระทำความผิดของเด็กอายุ ไม่เกิน 10 ปี และ 15 ปี(ม 73-74) ถ้าไม่มีเหตุยกเว้นโทษ ผู้กระทำต้องรับผิดในทาง อญ แล้ว ต้องดูด้วยว่ามีเหตุลดโทษหรือไม่ เช่น ป้องกัน หรือ จำเป็น เกินขอบเขต ม 69 กระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์บางความผิดระหว่างญาติ ม 71 ว 1 ผู้กระทำอายุกว่า 15 แต่ต่ำกว่า 18 ปี ม 75 หรือ ตั้งแต่ 18 แต่ไม่เกิน 20 ปี ม 76 เหตุลดโทษ(พยายามบรรเทาผลร้ายแห่งความผิดนั้น ) ม 78 บันดาลโทสะ ม 72 ผลของ ยกเว้นโทษ คือ ผิด เช่น ก.บังคับ ข.ตี ค. ค.ตี ข.อ้างป้องกันได้ เพราะ ข.จะทำผิด 295 ,ก. อายุ 13 ปี อ้าง 74 ยกเว้นโทษได้ แต่ ก.จะยิง ข. ข.ยิง ก. อ้างป้องกันได้

ข้อสอบเก่า

อาญา

 อธิบายเจตนา พร้อมยกตัวอย่าง
/อธิบายความยินยอมในทางอาญา พร้อมตัวอย่าง
/อธิบายหลัก ไม่มีความผิด ไม่มีโทษ ไม่มีกฏหมาย พร้อมยกตัวอย่าง
/จงอธิบาย ประมาท ตาม ๕๙ ว ๔ มาโดยละเอียด
/อุบายในการลักทรัพย์ ต่างกับฉ้อโกงอย่างไร
เจตนาเล็งเห็นผลกับประมาทต่างกันอย่างไร ยกตัวอย่างด้วย
/อธิบายเจตนาเล็งเห้นผล ๕๙ ว ๒ พร้อมยกตัวอย่างตามฏีกามา ๒ ฏีกา
/อธิบาย ไม่รู้ ขทจ องค์ประกอบความผิด กับ สำคัญผิดใน ขทจ

 แพ่ง 


      ก.ซื้อยาสระผมมาสระ สระแล้วผมร่วงเพราะมียากำจัดรังแคผสมเกินขนาด ใช้หลักกฏหมายใดเรียกร้อง และใครมีภาระพิสูจน์ /
    อธิบายกรณีซื้อรถยนต์มาแล้วแต่ใช้การไม่ดี จึงทุบรถเรียกร้องให้ผู้ขายรับผิด ใช้หลักกฏหมายใด อธิบายสิทธิผู้ซื้อ
     /หลักเกณ์กำหนดค่าสินไหมในคดีละเมิด เหมือน และ ต่าง กับคดีผิดสัญญาอย่างไร
     /ปพพ มาตรา ๕ ที่ว่า การใช้สิทธ ต้องทำโดยสุจริต หมายความว่าอย่างไร จำเป็นต้อง บญ หรือไม่ เป้นเรื่องแล้วแต่คนจะคิดหรือว่าว่าสุจริต
      /ก ขายฝากเรือนไม้แก่ ข ต่อมารื้อไปปลูกบ้านใหม่โดยใช้ไม้ของบ้านหลังเก่าแค่๑/๒ ใครมีสิทธิดีกว่ากันในบ้าน
     /อธิบายหลักสัญญาต้องเป้นสัญญาและ ขยว.
     /อธิบาย ปพพ ๓๖๙ ที่ว่า ไม่ชำระหนี้จนกว่าจะได้รับชำระหนี้ตอบแทน และ มี ขยว.หรือไม่
     /อธิบายความรับผิดทางสัญญา กับละเมิดที่ทับซ้อนกันอยู่
     /อธิบายหลักผู้รับโอนไม่ีสิทธิดีกว่าผู้โอน ข้อยกเว้นและ ตัวอย่างอีก ๒ อย่าง/

ระหว่างประเทศ 


     อธิบายความสมบูรณ์ของหลักสนธิสัญญา
      /อธิบายองค์ประกอบของรัฐ การรับรองรัฐเป้นองค์ประกอบหรือไม่
     /นอกจาก ฑูต กับ จนท.กงศุล มีใครอีกที่มีความคุ้มกัน
     /อธิบาย สนธิสัญญาตามอนุสัญญากรุงเวียนนา
      /อธิบาย สนธิสัญญาตามอนุสัญญากรุงเวียนนา ข้อ ๒(๑)/
     กม รว ปท คืออะไร สัมพันกับ กม ภายใน ปท อย่างไร นำไปใช้อย่างไร
     /อธิบายหลักห้ามแทรกแซงกิจการภายในของรัฐอื่น
     /อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฏหมายทะเล เขตอำนาจของรัฐชายฝั่งเหนือเขตต่อเนื่องมีอะไรบ้าง
     /อธิบายความยินยอมของรัฐ
     /อธิบายความไม่สมบูรณืของสนธิสัญญา ตาม อนุสัญญากรุงเวียนนา

มหาชน ปกครอง รธน.


      ให้พิจารณาว่าประกาศกระทรวงทรัพยากร ที่ยกตัวอย่างมา เป็นคำสั่งทางปกครองหรือไม่
      /อธิบาย รธน มตรา ๗ ที่ว่า ไม่มีกฏหมายใน รธน นี้ให้ใช้จารีตประเพณี ปชต อันมีกษัตริย์เป็นประมุข พร้อมยกตัวอย่างการเมืองไทยปัจจุบันหลักการยุบสภา(เม.ย.๔๙)/
     มี.ค.๔๘ ไทยรักไทยมีเสียง ๓๗๗ เสียงใน ๕๐๐ ส่วน ปชป มี ๑๒๓ เสียง ค้านไม่ได้เลย ไทยรักไทยทำอะไรก็ถูกต้องเสมอ ฝ่ายค้านจะมีวิธีถ่วงดุลอย่างไร เห้นด้วยกับคำว่า ปชต คือ ปกครองโดยเสียงข้างมากหรือไม่/ความรับผิดทางละเมิดของ จนท ต่างกับ ละเมิดแพ่งอย่างไร
     /รธน มตรา ๒ ที่ว่า ปชต อันมีกษัตฯ คำว่า ปชต คือ อะไร เห็นด้วยหรือไม่ที่ว่า ปชต ไม่ใช่ปกครองด้วยจำนวน แต่ปกครองด้วยกฏหมาย
      /นิติกรรมทางปกครองแบ่งเป็นกี่ประเภท การแบ่งเช่นนี้มีผลทางกฏหมายอย่างไร
     /ถ้าผู้พิพากษารับสินบนมาตัดสิน หรือ อคติตัดสิน มีวิธีถ่วงดุลศาลอย่างไร ในไทยมีการถ่วงดุลหรือยัง
     /ศาลปกครองสั่งให้ ตำบลมาบตาพุตเป็นเขตควบคุมมลพิษ เป็นการก้าวก่ายฝ่ายบริหารหรือไม่ ให้ตอบตามหลักนิติรัฐ
     /จงอธิบายหลัก กฏหมายอาญาไม่มีผลย้อนหลัง และ ประกาศ คปค .ที่ว่า ศาล รธน.ยุบพรรคแล้ว ให้ตัดสิทธิทางการเมือง ๕ ปี
      /อธิบายการกระทำทางปกครองต้องชอบ กม.และ การเสียไปของการกระทำทางปกครอง
      /ท่านเห็นว่าปัญหาในระบอบ ปชต ไทย มาจากคน หรือ ระบบ

  อังกฤษ  ๑๐๐ ข้อ


จงเลือกข้อที่ผิดไวยกรณ์
 /จงเลือกข้อที่ถูกไวยกรณ์
/จงเติมคำศัพท์ที่ถูกต้อง
/ให้เลือกคำที่มีความหมายใกล้เคียงกัน/
อ่าน ทำความเข้าใจแล้วเติมคำ(อ่านเติมนี้  50ข้อ)

กฎหมายมหาชน

องค์ประกอบของรัฐ ๔ อย่าง
           ๑ อาณาเขต คือ ดินแดน จะเป็นเกาะก็ได้
           ๒ พลเมือง
           ๓ อำนาจรัฐ คือ อำนาจที่ไม่ได้รับถ่ายทอดมาจากอำนาจอื่น
           ๔ เอกภาพ คือ ศูนย์รวมในทางจิตใจ รัฐอาจรวมกันเป็น สหพันธ์ แล้วกลายเป็นมลรัฐ รัฐก็จะสิ้นความเป็นรัฐไป ถ้ายกเลิกสหพันธ์ ก็กลับเป็นรัฐดังเดิมได้ การตียึดรัฐอื่น แล้วรวมดินแดนไม่ถือว่าสิ้นความเป็นรัฐ(เพราะผิดกฏหมาย รว.ปท.) เยอรมันแพ้สงครามโลก ๒ ถูกยึดครองโดยหลายประเทศ ก็ไม่สิ้นความเป็นรัฐ ระบอบการปกครอง ยังเปลี่ยนไปมาระหว่าง ปชต กับ เผด็จการ ผู้ที่เป็นศัตรูกับระบอบที่ครองอำนาจอยู่เรียกว่า นักปฏิวัติ และแนวคิดต้องผิดกฏหมายเสมอ ปฏิวัติจะประสงค์เปลี่ยนเป็นระบอบใหม่ ที่ยังไม่เคยใช้มาก่อน หรือ ระบอบโบราณก็ได้ ปัจจุบัน ใช้ก่อการร้ายเพื่อนำไปสู่การปฏิวัติ เช่น ก่อม๊อบทำลายบ้านเมือง ลอบฆ่าผู้นำ ขับเครื่องบินชนตึก เน้นที่สร้างความหลาวกลัว

           กฏหมายมหาชน คือ กฏหมายรักษาผลประโยชน์ของสาธารณะ (กม เอกชน รักษา ผล ปย เอกชน) เช่นกฏหมายแรงงาน คุ้มครองลูกจ้างมิให้โดนเอาเปรียบโดยนายจ้าง รัฐสวัสดิการเน้นกฏหมายมหาชน(แทรกแซง อ้างว่ามิให้ผู้ใหญ่รังแกเด็ก) ทุนนิยม เน้นกฏหมายเอกชน (ไม่แทรกแซง เชื่อกลไกตลาด)

           ประชาธิปไตย เชื่อ ๓ อย่าง คือ ๑ อำนาจมาจาก ปชช ๒ เลือกตั้งดีกว่าแต่งตั้ง เลือกตั้งบกพร่องก็แก้ไขไปเรื่อยๆ ๓ พลเมืองเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองได้ ทั้งเลือกตั้ง และ ลงสมัครรับเลือกตั้ง

           ปชต. มี ๖ รูปแบบ คือ
           ๑ แบบทองถิ่นสวิสเซอร์แลนด์ พลเมืองประชุมกัน ร่วมกันวางนโยบาย ไม่มีแบ่งนิติบญ บริหาร ตุลาการชัดเจน
           ๒ สมัชชา พลเมืองเลือกสมัชชามาตรากฏหมายแล้วให้มีอำนาจเหนือฝ่ายบริหาร สุดท้ายนำไปสู่เผด็จการ
           ๓ คณะผู้อำนวยการในประเทศสวิสซ์ฯ สภาไม่สามารถลงมติไม่ไว้วางใจฝ่ายบริหาร ฝ่ายบริหารก็ไม่มีสิทธิยุบสภา ฝ่าบบริหารจึงเข้มแข้ง
           ๔ รัฐสภา สภากับฝ่ายบริหาร จะมีอำนาจเหนือกันไม่ได้เลย มีลักษณะ ๖ ดังนี้
                      ๑ ฝ่ายบริหาร(รัฐมนตรี) ต้องมาจากสมาชิกสภา เพื่อให้สภาควบคุมฝ่ายบริหารซึ่งเป็นคนของสภาได้   (ที่ว่าห้าม รมต. มาจาก สส. ย่อมไม่สอดคล้องหลักนี้)
                       ๒ รัฐบาลมาจากผู้นำพรรคที่กุมเสียงข้างมากในสภา 
                       ๓ นายก รมต.มีอำนาจเหนือ รมต.
                      ๔ รัฐบาลต้องได้รับการสนับสนุนจากเสียงข้างมากในสภา
                      ๕ รัฐบาลวางนโยบาย สภานำนโยบายมาออกกฏหมาย
                      ๖ มีฝ่ายค้านบอกว่ารัฐบาลผิดตลอดเวลา ถ้าสภาว่ารัฐบาลผิด(ไม่ไว้วางใจ) รัฐบาลต้องลาออก ให้ ปชช เลือกตั้งใหม่เพื่อตัดสินว่าใครถูก    แต่รัฐบาลจะชิงยุบสภา เพื่อให้เลือกตั้งใหม่ ก็ได้ (เหตุนี้ บริารถือไพ่เหนือว่าสภา)
          ๕ แบบ ครม.อังกฤษ มีลักษณะ ๖ คือ
                      ๑ มีพรรคการเมือง สองพรรค มีโอกาสเป็นเสียงข้างมากในสภา พอๆกัน
                      ๒ ผู้นำพรรคกุมเสียงข้างมากได้เป็นนายก
                      ๓ รัฐบาลต้องมาจากสมาชิกสภาด้วย
                     ๔ ถ้ารัฐบาล ร่างกฏหมายแล้ว สภาไม่รับร่าง รัฐบาลต้องยุบสภาเพื่อให้ ปชช ตัดสินว่าใครถูก
                     ๕ สภาตั้งกระทู้ถามรัฐบาลเสมอๆ เพื่อควบคุมรัฐบาล แต่ถ้ายิ่งตี คะแนนนิยมรัฐบาลยิ่งเพิ่ม รัฐบาลจะยุบสภาเพื่อให้ตนเป็นรัฐบาลอีกวาระก็ได้
                      ๖ สมัครรับเลือกตั้ง ต้องมีพรรคการเมือง และต้องซื่อสัตยืต่อพรรค
           ๖ ปธน. เชื่อว่า ใครมีอำนาจก็บ้าอำนาจได้ง่ายๆ เป็นเผด็จการ และคุกคาม ปชช ในที่สุด จึงต้องแบ่งแยกอำนาจแก่หลายฝ่าย เน้นถ่วงดุล ยับยั้งกันได้เสมอ เช่น สภาออกกฏหมาย ปธน ไม่เซ็น เพื่อถ่วงเวลาร่าง กม ได้ สภา ต้องย้อนไปเอามติ ๒ ใน ๓ ก็สามารถปะกาสใช้กฏหมายได้ ถ้า ปธน ไปทำสนธิสัญญา รว.ปท. สภาเลือกจะสัตยาบันได้ ถ้า ปธน เสนอชื่อ ขรก.ผู้ใหญ่ สภาก็เลือกเห็นชอบได้ สภาพิจารณางบประมาณ ปธน.จึงเกรงใจสภา เพราะนโยบายเดินด้วยเงิน แต่สภาไม่มีสิทธิถอดถอน ปธน.เว้นแต่ีการฟ้องร้อง ปธน.ก็ไม่มีอำนาจยุบสภา
           เนื้อหาของนิติรัฐ ๓ คือ
           ๑ หลักประกันสิทธิขั้นพื้นฐาน ปชช
           ๒ หลักความพอสมควรแก่เหตุ
            ๓ ชดเชยความเสียหายของ ปชช จากการกระทำอันมิชอบของรัฐ

 แบ่งแยกอำนาจ ๓ คือ
           ๑ นิติ บญ (สภาผู้แทนราษฏร์+วุฒิสภา)
           ๒ บริหารตาม กม.(รัฐบาล+ ขรก ประจำ)
           ๓ พิพากษา (ศาล) ฝ่ายบริหารออก กม.ได้ในเรื่องที่ไม่สำคัญ ถ้ากระทบสังคม ศก. ต้องให้ สภาออก กม. /กม.ที่ว่า ให้เวนคืนที่ดินได้ตามความเหนของรัฐบาล ไม่ชอบด้วยหลักการแยกอำนาจเพราะ กม.กระทบสิทธิ ปชช ต้องพิจารณาถี่ถ้วนโดยสภาเท่านั้น