2/12/55

รธน.


           จาก www.dekisugi.net  แนวคิดในรัฐธรรมใหม่ว่า  "ขยาดการถูกข่มเหงโดยรัฐฯ  และรัฐฯ มีแนวโน้มจะใช้อำนาจเกินขอบเขตกับประชาชนอยู่ตลอดเวลา  มนุษย์ทุกคนมีสิทธิเสรีภาพบางอย่าง ที่แม้แต่รัฐฯ ก็ไม่มีสิทธิละเมิด หลักการใหญ่ คือ การแบ่งอำนาจสูงสุดออกเป็น 3 ส่วน คือ นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ  เป็นอิสระจากกัน  เพื่อป้องกันมิให้มีใครได้อำนาจรัฐฯ โดยเบ็ดเสร็จ และให้ทั้งสามอำนาจคอยตรวจสอบถ่วงดุลกันเอง   ในไทยฝ่ายบริหารจะมีอำนาจมากกว่าสภา เพราะสามารถออกพระราชกำหนดได้เองหากอ้างมีเหตุจำเป็น และแม้ว่าจะถูกถ่วงดุลเอาไว้ด้วยการให้สภานำมาโหวตในภายหลัง  ซึ่งถ้าโหวตไม่ผ่าน ฝ่ายบริหารต้องรับผิดชอบด้วยการลาออก แต่นายกรัฐมนตรีก็มีท่าไม้ตาย  คือสามารถ ยุบสภา เมื่อไรก็ได้   ในส่วนศาลไม่เห็นกลไกที่ฝ่ายบริหารและนิติบัญญัติ หรือ ปชช.  จะถ่วงดุลฝ่ายตุลาการได้ อำนาจศาลจึงสูงมาก   เพราะผู้พิพากษาของไทยไม่ได้ผ่านการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน ซึ่งต่างกับสหรัฐฯ ที่ผู้พิพากษาตำแหน่งรองๆ ลงมาต้องมาจากการเลือกตั้ง  สองสภาของไทยเป็นการต่อรองกันระหว่างคนที่ชอบประชาธิปไตยกับคนที่ไม่ชอบ ประเด็นที่เถียงกันเลยเป็นเรื่องว่าควรจะเลือกตั้งทั้งหมด หรือสรรหา   ในเมกา ข้อที่ถูกอ้างบ่อยที่สุดน่าจะได้แก่ เสรีภาพในการพูด เชื่อว่า ควรปล่อยให้พลเมืองพูดอะไรก็ได้ แม้แต่เรื่องที่รัฐบาลไม่ชอบมากๆ เพราะความเห็นต่างจะช่วยให้เกิดการตรวจสอบและนำมาซึ่งความโปร่งใสในที่สุด คนอเมริกันจึงซีเรียสเรื่องเสรีภาพในการพูดมาก เวลาจะพูดอะไรร้อนๆ ก็จะอ้าง 1st Amendment เสมอ แนวคิดที่สนับสนุนให้พลเมืองกล้าเรียกร้องสิทธิ เพื่อให้การเอาเปรียบกันทำได้ยากขึ้นนี้  จัดว่าเป็นลักษณะเด่นของสังคมอเมริกันเลยทีเดียว เป็นค่านิยมที่ต่างจากค่านิยมของสังคมไทยค่อนข้างมาก มองตรงกันข้ามกันด้วยซ้ำว่า ถ้าสอนให้ทุกคนเรียกร้องสิทธิ แล้วจะทำให้คนเห็นแก่ตัวกันมากขึ้น สังคมไม่น่าอยู่ เชื่อว่า ทุกอย่างอยู่ที่การปลูกฝังจิตสำนึกและการให้คนดีได้อำนาจ ส่วนระบบอะไรนั้นก็ไม่สำคัญ 

           รธน.มีความสำคัญอย่างมาก เพราะ  กฎหมาย กฎ ข้อบังคับใด  ขัดหรือแย้งต่อ รธน นี้ เป็นอันใช้บังคับมิได้  (6)
           ประเด็นที่มาสู่ศ รธน  ได้แก่  กม ขัดหรือแย้งต่อ รธน หรือไม่   ความขัดแย้งเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ระหว่างองค์กร ตาม รธน.
           อำนาจตุลกการ  แบ่งได้ ๔ ศาล ได้แก่ ศ รธน.    ศ.ยุติธ.  ศ ปค.  และ ศ.ทหาร 
                  ๑  ศ.รธน. ประกอบด้วย ตลก.๙ คน (ศ.ฎี ส่ง ๓ คน /ศ.ปค.ส่ง ๒ คน /สว.ส่ง ๔ คน โดยเป็นสายนิติ ๒  รัฐศาสตร์ ๒ ) วาระ ๙ ปี เว้นแต่เข้า ม.๒๐๙ อคณ ต้องมี ๕ คน(ม ๒๑๕)  ใช้หลักเสียงข้างมาก  ให้ ตลก ทุกคนมีความเห็นส่วนตัวเป็นเอกสาร  นำมาประชุมเช้า ตัดสินกลาง ตอนบ่าย   
                   คดีที่มาสู่ ศ.รธน.ได้แก่
                            ๑.๑   คดีที่ศ.ยุติธ.   ศ.ปค. ศ.ทหาร  ส่งมาให้วินิจฉัยว่า  กม.ขัด รธน.หรือไม่  และ เคยมี คว.ในประเด็นดังกล่าวแล้วหรือไม่  ตาม ม ๒๑๑
                            ๑.๒   บุคคลผู้ถูกละเมิดสิทธิ  ยื่นผ่าน อยส.  เช่น  ม ๖๘  การเสนอแก้ รธน.เป็นการล้ม รธน.หรือไม่  ถ้ามีคนไปยื่น ที่ อยส.  แล้วอีกคนไปยื่นเรื่องเดียวกันที่ ศ รธน  ศาลรับเรืองไว้ได้เลย  ถือว่ายื่นต่อ อยส.แล้ว
                   ตัวอย่าง  การชี้ขาดอำนาจหน้าที่องค์กร   ปปช.ชี้มูลว่า ขรก.ผิดวินัยร้ายแรง  แต่ กพ.สั่งลดโทษเป็นไม่ร้ายแรง  ศ รธน ว่า  ต้องเป็นวินัยร้ายแรงตาม ปปช.ชี้มูล  (รธน.๒๑๔ ความขัดแย้งเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ระหว่างองค์กร ตาม รธน.) ศ รธน ชี้แล้วผูกพันทุกองค์กร อำนาจขัดกันยุติ   ศ รธน จึงเป็นเส้นแบ่งอำนาจองค์กรด้วย  

                    ในคดี ดา ตอปิโด ดาโต้แย้งว่า  พิจารณาลับตาม ป วิอ.กระทบสิทธิ  ขัด รธน  ขอให้ศ อญ ส่งเรื่องไป ศรธน.วินิจ ก่อน  ศอญ.ไม่ส่ง  แต่ยกคำร้อง  แล้วจำคุก ๑๘ ปี  ดา อท.คร.  ศอท.ว่า  ต้องยกคำพพ. ของ ศชต.แล้วย้อนให้ ศอญ พิจ ใหม่  ต่อมา ศอญ.ส่งไป ศรธน.   /ศรธน.วินิจว่า  พิจ.ลับไม่ขัด รธน.  ศอญ.ตัดสินใหม่
                    คว.ศรธน.ที่ ๑๒/๕๕  พรบ.ขายตรง ที่ว่า  สนฐ ไว้ก่อนว่า กรรมการทุจริตร่วมกับนิติบค.  นั้นขัด รธน.ม.๓๙ ที่ว่า ในคดี อญ.ต้องสนฐไว้ก่อนว่า ผตห.หรือ จล.ไม่มีความผิด  (คว.นี้ก้ำกึ่งมากคะแนน ๕ ต่อ ๔)  คว.นี้ผูกพันศาลทั่ว ปท. ต้องออกหนังสือแจ้งเวียนว่า ต่อไปนี้ กม.อีก ๑๐๐ ฉบับ ที่ว่า  สนฐ ว่า จล ผิดไว้ก่อนแล้วให้ จล สืบแก้ก็อาจมีปัญหา  เพราะ หลายเรื่องทาง ศก. ,  รัฐไม่รู้เห็น  จึงผลักภาระพิสูจน์ให้ จล.พิสูจน์ว่าตัวเองไม่ผิด  
                    คนพิการมาสมัครสอบ ผช.ผพพ.  กต.ลงมติว่า  ไม่เหมาะสมจะเป็นศาล  ห้ามสมัคร อ้าง ม ๒๖(๑๐) (....)  เขาฟ้องศาล รธน ว่า  เลือกปฏิบัติต่อคนพิการ   ศรธน ชี้ว่า  ม ๒๖  ไม่ขัด รธน  
                     ก่อแก้ว พิกุลทอง  ศาลถอนประกันแล้ว  พ้นจากสภาพ สส.หรือไม่ ศรธน. ต้องชี้ต่อไป
                    คดีมาสู่ ศรธน. ๑๐๐ คดี/ปี  

ศาลปกครอง
                   คดีที่มาสู่ ศปค. (๑๐,๐๐๐คดี/ปี)   ๑ จนท.รัฐ พิพาทกันเอง  ไล่ออกไม่ชอบด้วยระเบียบ     ๒  รัฐพิพาทกับเอกชน  เช่น ทำนอกอำนาจ ไม่ถูกตามรูปแบบ พรบ พัสดุ    ไม่สุจริต  เลือกปฏิบัติ  สร้างภาระแก่ ปชช  เกินจำเป็น  เรื่องล่าช้า  จนท หมกงาน  ,ละเมิดทางปกครอง  , ส.ทาง ปค.  เพื่อให้ศปค ตรวจสอบ จนท รัฐอีกชั้นหนึ่ง    แต่วินัยทาร  วินัยตำรวจ ไม่อยู่ในอำนาจศาลปกครอง  ย้าย ปลัด กลาโหม  อ้างผิดวินัย  ฟ ศปค ไม่ได้  แต่ถ้าย้าย อ้าง เหมาะสม  อันนี้ ฟ ศปค ได้  ชาวบ้านเดือดร้อนสนามบิน หนวกหูก็ ฟ ศปค.ได้  
                   ถอด ยศ ทักษิณ  ก็อยู่ในอำนาจ ศปค เพราะ เป็น คุณสมบัติ  ไม่ใช่วินัย  
                   กต.ลงโทษ ผพพ.  ก็เป็นวินัย  ศปค ไม่มี อน.มาตรวจสอบการใช้อำนาจวินัย  
                   คดีแรงงาน ทรส.ปญ. การค้า รว.ปท.  ลลล ภาษี  มี กม เฉพาะแล้ว  ไม่อยู่ใน อน ศปค  
                   ศปค ใช้ระะไต่สวน คือ ศาล ถามเอง  ทนายต้องพร้อมมากๆในด้านข้อมูล  
                   วิธีพิจ ปค. เอาวิ แพ่ง มาใช้ด้วย เช่น คุ้มครองชค.  
                   อยค.คดี ปค ๙๐ วันนับแต่รู้เหตุมูลฟ้อง 
                   ศปคสูงสุด มี อคณ ๕ คน  ศปค ชต ใช้ ๓ คน  หลักเสียงข้างมาก แต่เสียงข้างน้อย ทำความเห็นแย้งได้  
                   จะมีการเรียกปชุมใหญ่ก็ได้  
                   เนติ ก็มี พรบ รองรับ คดีก็อาจมา ศปค ได้  
                    ศปค มีที่ภูมิภาคอีก ๗ ศาล 
ศาลทหาร
                    ใช้ พรบ ศ ทหาร มีแบบเวลาปติ  กับเวลาสงคราม  ชาวบ้านทำผิดร่วมกับทหารไม่ขึ้นศ ทหาร  นร.ทหารก็ขึ้น ศ ทหารได้  แต่ถ้าอยู่ใน อน ศ เด็กต้องไป ศ เด็ก  เชลยขึ้น ศ ทหาร  
                    ตลก.ศ ทหาร มี นายทหารสัญญาบัตร (นัก รบ)ร่วมกับตุลาการธรรมนูญ(นัก กม)  คนฟ้องคดีก็เป็นอัยการทหาร  อท ฎีกามีเวลาเพียง ๑๕ วัน  มีทนายได้  

 ศ.ยุติ. 

                  ผพพ.๔,๓๐๐ คน  (๒๕๕๕)  
                  ศชต. ประกอบด้วย ศ แขวง ศจว.  ศชำนัญ คดีในศชต. ๑,๐๐๐,๐๐๐ คดี/ปี  
                  ศอท. ๑๐ แห่ง  ๑๐๐,๐๐๐ คดี/ปี  คดีไม่เป็นสาระเช่น คดี ขกม.เดินตามกันมานาน  ไม่ควรให้ อท ฎีกา  แต่ทุกวันนี้ กม ยังเปิดช่องให้ ขกม.  น่าจะใช้ ๒๑๙ ว ๒ อ้างว่าไม่เป้นสาระตีตกไปเลย  ปัจจุบัน อท.๑๐ประเด็น กต้องเขียนตอบ ๑๐ ประเด็น  
                  ศฎ.  มี๑๐,๐๐๐ คดี/ปี  แบ่งเป็นแผนกคดีอญของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองด้วย  มองว่าคดีการเมืองวิ่งเต้นรุนแรง จึงต้องมีแผนกเฉพาะ  ใช้ อคณ ๙ คน  สุ่มเอาแบบไม่รู้ชื่อ อคณล่วงหน้า  ตัดสินครั้งเดียวจบ  คนก็หาว่า  มันไม่มีการกลั่นกรอง   ต่อมา รธน.๒๕๕๐ ว่า  ถ้ามี ลฐ ใหม่ก็พิจ ใหม่ได้  แต่ปัจจุบันยังยากที่จะมี ลฐ ใหม่   แผนกการเมือง รับทำคดี ฟ นานก รมต  สส. สว.   ได้หมด  คดีกล้ายาง   หวยบนดิน  ที่ดินรัชดา ร่ำรวยผิดปกติ  รักเกียรติทุจริตยาที่ กท สาธารณสุข  พรบ.ฮั๊ว  ปอ.๑๔๗-๑๖๖ ตัวการ ผู้ใช้ สนับ   ยืน บช.เท็จ  ทุจริต  ก็ ฟ ที่แผนกการเมืองได้  
                  นอกจากนี้ ยังมี แผนกคดีเลือกตั้งด้วย  
                   ศ.เยาวชน กม ใหม่  ๒๕๕๓ กน ว่า  ให้มี ศ ยช. ทุก จว.  แต่บ ปห ว่า  จว.ใหญ่ๆ ตร.ต้องพาเด็กมาไต่สวนการจับ  ไม่มีค่าน้ำมันรถ  ก็เลยไม่จับเด็กซะเลย  คดีครอบครัว สวัสดิภาพเด็ก ก็ฟ ศยช.ได้  อคณ มี ผพพ อาชีพ ๒ คน  ผพพ สมทบ ๒ คน  โดย ผพพ สมทบต้องเป้น ญ ๑คนด้วย  
                    ใช้ทฤษฎี  ฟื้นฟูเยียวยากับเด็ก จึงละมุนละม่อม  แต่สำหรับคดีผู้ใหญ่ มุ่งลงโทษอาญาให้เข็ด  แก้แค้น  เชื่อไก่  และ ตัดจากสังคมเพื่อสงคมปลอดภัย  ออกแนวรุนแรง
                     ศ แรงงาน ใช้ พรบ ตั้งศแรง.  มี ศ แรงงานกลาง  เขตพื้นที่ กทม และ ปริมณฑล  มีศแรง.ภาค ๑-๙  อยู่ที่ จว.ใหญ่ๆ  รับคดี ส จ้าง  สิทธิแรงงาน  ตาม ม๘ พรบ ตั้งศแรง.   มี ผกก.อาชีพ ๒ คน  ผพพสมทบฝ่าย นจ ๑ คน  ฝ่าย ลจ อีก ๑ คน   ใช้วิธีพิจ แบบไต่สวน ไม่มีค่าธรรมเนียม  มีนิติกรช่วยดูแล  เน้นประหยัด สะดวก เร้ว  อธิบดีศ ออกข้อบังคับพิจรณาคดีได้โดย ปธศฎ เห็นชอบ  การอท  ส่งตรงไป ศฎ ทันทีเลย  อทได้เฉพาะ ขกม.   ขทจ ยุติที่ศชต เสมอ  และ ศ สั่งเกินคำขอได้  (ม  ๕๒) ต่างจากคดีแพ่งทั่วไปห้ามสั่งเกินขอ
                     ศลลล  มีศลลล กลาง ศเดียว ใน ปท.  ไม่มี จว  ไม่มี ภาค    ตั้งที่แจ้งวัฒนะ  เขต อน ทั่ว ปท.  อท ใน ๑ เดือนไปยัง ศฎ.  อทได้เฉพาะ คพพ ยกฟ้อง.  (ม๒๔ พรบ ลล )  ไม่มี ผพพ สมทบ เพราะ ต้องเชีย่วชาญ  
                    ศ ภาษี  ไม่มีผพพ สมทบ  ตั้งตาม พรบ ตั้งศภาษี    ไม่มีศจว.ภาษี  มีศภาษีกลางที่เดีว เพราะคดีไม่มากพอ  พิจเฉพาะคดีแพ่ง  มี อคณ ๒คน   อทไป ศฎ แผนกคดีภาษีได้เลย  
                    ศ ทรสปญ.  มีผพพ สมทบ  เป็นคนรู้เรื่องการค้า รวปท.  มีศทรส.กลางที่เดียว  เขต อน ทั่ว ปท.  รับฟ ทั้งแพ่ง อาญา ลิขสิทธิ สิทธิบัตร เครื่องค้า  ส ถ่ายทอด  ส ใช้สิทธิ  คดีการค้ารวปท.  รวมขนส่งทางทะเล  อากาศ  ทางบกข้ามปท ปกันภัย  เรือเป็นหนี้ก็กักเรือ  ทุ่มตลาดแข่งการค้า  บริษัทไทยข้ามชาติ  ปรับค่าเสียหายบริษัทค้าข้ามชาติ   อทไปยัง ศฎ แผนกคดีทรส. ทีเดียวเลย  
                 

                   

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น